- การคำนวณจำนวน ส.ส.แบบแบ่งเขตให้ใช้จำนวนราษฎรทั้งประเทศเฉลี่ยด้วยจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกี่คน
- 150 คน
- 350 คน
- 375 คน
- 500 คน
- ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับจังหวัดใดมีราษฎรไม่ถึงเกณฑ์จำนวนราษฎรต่อจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
- ให้มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในจังหวัดนั้นได้ 1 คน
- ให้ถือเขตจังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง
- ให้ถือเขตจังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง
- ถูกทุกข้อ
- เมื่อได้จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของแต่ละจังหวัดครบแล้วแต่งยังมี ส.ส. ไม่ถึง 350 คน ต้องทำอย่างไร
- จำนวนที่ขาดไปเพิ่มกับ ส.ส. บัญชีรายชื่อ
- เพิ่ม ส.ส. ให้จังหวัดที่มีเศษเหลือจากการคำนวณราษฎรมากที่สุด
- เพิ่ม ส.ส. ให้จังหวัดใหญ่ๆ โดยแบ่งตามภาค
- เพิ่ม ส.ส. ให้กับเขตกรุงเทพมหานคร
- ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับจังหวัดใดมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เกิน 1 คน
- ให้แบ่งเขตจังหวัดออกเป็นเขตเลือกตั้งเท่าจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่พึงมี
- ต้องแบ่งพื้นที่ของเขตเลือกตั้งแต่ละเขตให้ติดต่อกัน
- ต้องจัดให้มีจำนวนราษฎรในแต่ละเขตใกล้เคียงกัน
- ถูกทุกข้อ
- การส่งผู้สมัครรับเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ ให้พรรคการเมืองจัดทำบัญชีรายชื่อพรรคละกี่บัญชี
- 1 บัญชี
- 2 บัญชี
- 3 บัญชี
- 4 บัญชี
- การคำนวณหาสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ ให้นำคะแนนรวมทั้งประเทศที่พรรคการเมืองทุกพรรคที่ส่งผู้สมัครรับเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อได้รับจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้งหารด้วยจำนวนตามข้อใด
- 150
- 350
- 375
- 500
- ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับ ส.ส.แบบบัญชีรายชื่อ
- ผู้สมัครรับเลือกตั้งของแต่ละพรรคการเมืองต้องไม่ซ้ำกัน
- ผู้สมัครรับเลือกตั้งต้องไม่ซ้ำกับรายชื่อผู้สมัครรับเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง
- ส่งบัญชีรายชื่อให้ กกต. ก่อนปิดการรับสมัครรับเลือกตั้ง ส.ส. แบบแบ่งเขต
- ถูกทุกข้อ
- การเสนอชื่อผู้สมควรได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี ให้พรรคการเมืองที่ส่งผู้สมัครรับเลือกตั้งแจ้งรายชื่อบุคคลเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี พรรคละไม่เกินกี่รายชื่อ
- 1 รายชื่อ
- 2 รายชื่อ
- 3 รายชื่อ
- 4 รายชื่อ
- การเสนอชื่อผู้สมควรได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี ให้พรรคการเมืองเสนอต่อใคร
- ศาลรัฐธรรมนูญ
- คณะกรรมการการเลือกตั้ง
- นายทะเบียนพรรคการเมือง
- หัวหน้าพรรคการเมือง
- ผู้มีสิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ข้อใดไม่ถูกต้อง
- มีสัญชาติไทย
- มีอายุไม่ต่ำกว่า 18 ปีในวัน 1 มกราคมของปีที่มีการเลือกตั้ง
- มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในเขตเลือกตั้งมาแล้วเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 90 วันนับถึงวันเลือกตั้ง
- บุคคลผู้มีสัญชาติไทยโดยการแปลงสัญชาติต้องได้สัญชาติไทยมาแล้ว ไม่น้อยกว่า 5 ปี
- บุคคลต้องห้ามมิให้ใช้สิทธิเลือกตั้ง คือบุคคลในข้อใด
- เป็นภิกษุสามเณร นักพรต หรือนักบวช
- อยู่ในระหว่างถูกเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งไม่ว่าคดีนั้นจะถึงที่สุดแล้วหรือไม่
- ต้องคุมขังอยู่โดยหมายของศาลหรือโดยคำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมาย
- ถูกทุกข้อ
- ข้อใดไม่ใช่คุณสมบัติของผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็น ส.ส.
- มีสัญชาติไทยโดยการเกิด
- มีอายุไม่ต่ำกว่า 25 ปีนับถึงวันเลือกตั้ง
- เป็นสมาชิกพรรคการเมืองใดพรรคการเมืองหนึ่งแต่เพียงพรรคการเมืองเดียวเป็นเวลาติดต่อกันไม่น้อยกว่า 60 วันนับถึงวันเลือกตั้ง
- เป็นสมาชิกพรรคการเมืองใดพรรคการเมืองหนึ่งติดต่อกันไม่น้อยกว่า 30 วันนับถึงวันเลือกตั้งเพราะเหตุยุบสภา
- ผู้สมัครรับเลือกตั้ง ส.ส. แบบแบ่งเขตเลือกตั้ง ต้องมีลักษณะอย่างใด
- มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในจังหวัดที่สมัครรับเลือกตั้งมาแล้วเป็นเวลาติดต่อกันไม่น้อยกว่า 5 ปีนับถึงวันสมัครรับเลือกตั้ง
- เป็นบุคคลซึ่งเกิดในจังหวัดที่สมัครรับเลือกตั้ง
- เคยศึกษาในสถานศึกษาที่ตั้งอยู่ในจังหวัดที่สมัครรับเลือกตั้งเป็นเวลาติดต่อกันไม่น้อยกว่า 5 ปีการศึกษา
- ถูกทุกข้อ
- บุคคลตามข้อใด ต้องห้ามมิให้ใช้สิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็น ส.ส.
- นายแดงติดยาเสพติดให้โทษ
- นายดำเป็นบุคคลล้มละลายหรือเคยเป็นบุคคลล้มละลายทุจริต
- นายเขียวเป็นเจ้าของหรือผู้ถือหุ้นในกิจการหนังสือพิมพ์หรือสื่อมวลชนใด ๆ
- ถูกทุกข้อ
- ผู้ใดที่สามารถสมัครรับเลือกตั้งเป็น ส.ส. ได้
- นายแดงเคยได้รับโทษจำคุกโดยได้พ้นโทษมา 15 ปีแล้วนับถึงวันเลือกตั้ง
- นายดำต้องคำพิพากษาอันถึงที่สุดว่ากระทำความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ
- นายเขียวเคยต้องคำพิพากษาอันถึงที่สุดตามกฎหมายว่าด้วยการพนันในความผิดฐานเป็นเจ้ามือหรือเจ้าสำนัก
- นายนัสเคยต้องคำพิพากษาอันถึงที่สุดตามกฎหมายว่าด้วยยาเสพติดในความผิด ฐานเป็นผู้ผลิต นำเข้า ส่งออก หรือผู้ค้า
- ผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็น ส.ส. ต้องเคยรับราชการหรือปฏิบัติหน้าที่ในหน่วยงานของรัฐ หรือเคยมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในจังหวัดที่สมัครรับเลือกตั้ง มาแล้วเป็นเวลาติดต่อกันไม่น้อยกว่ากี่ปี
- 1 ปี
- 2 ปี
- 4 ปี
- 5 ปี
- บุคคลต้องห้ามมิให้ใช้สิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็น ส.ส. ตามรัฐธรรมนูญ 2560 ที่เพิ่มขึ้นจากรัฐธรรมนูญ ปี 2540 คือข้อใด
- เป็นเจ้าของหรือผู้ถือหุ้นในกิจการหนังสือพิมพ์หรือสื่อมวลชนใด ๆ
- เคยพ้นจากตำแหน่งเพราะเหตุตามมาตรา 144 (แปรญัตติให้มีส่วนได้เสียกับงบประมาณรายจ่ายฯ)
- เคยต้องคำพิพากษาอันถึงที่สุดว่ากระทำความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ
- ถูกทุกข้อ
- ถ้าเคยเป็น ส.ว. แล้วต้องการสมัคร ส.ส. จะสมัครได้สมาชิกภาพสิ้นสุดลงเกินกี่ปีขึ้นไป
- 1 ปี
- 2 ปี
- 3 ปี
- 4 ปี
- อายุของสภาผู้แทนราษฎรข้อใดกล่าวได้ถูกต้อง
- 4 ปี
- 4 ปีนับแต่วันสมัครรับเลือกตั้ง
- 4 ปีนับแต่วันเลือกตั้ง
- 4 ปีนับแต่วันที่ กกต. ประกาศรับรอง
- สมาชิกภาพของสมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเริ่มแต่วันใด
- วันสมัครรับเลือกตั้ง
- วันเลือกตั้ง
- วันที่ กกต. รับรอง
- วันประชุมสภาครั้งแรก
- สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสิ้นสุดลง ตามมติของพรรคการเมืองที่สังกัด ต้องมีคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าเท่าใด
- 1 ใน 3
- 3 ใน 4
- 2 ใน 5
- 4 ใน 5
- ถ้าพรรคการเมืองที่ตนสังกัดมีมติให้พ้นจากตำแหน่ง มิได้เข้าเป็นสมาชิกของพรรคการเมืองอื่นภายในกี่วันนับแต่วันที่พรรคการเมืองมีมติให้ถือว่าสมาชิกภาพสิ้นสุด
- 30 วัน
- 60 วัน
- 90 วัน
- 120 วัน
- ถ้าพรรคการเมืองที่ตนสังกัดมีถูกคำสั่งยุบพรรคการเมือง ถ้ามิได้เข้าเป็นสมาชิกของพรรคการเมืองอื่นภายในกี่วันนับแต่มีคำสั่งให้ถือว่าสมาชิกภาพสิ้นสุด
- 30 วัน
- 60 วัน
- 90 วัน
- 120 วัน
- ส.ส. ขาดขาดประชุมเกินจำนวนตามข้อใดโดยไม่ได้รับอนุญาตจากประธานสภาผู้แทนราษฎรให้ถือว่าสมาชิกภาพสิ้นสุด
- 1 ใน 3
- 1 ใน 4
- 3 ใน 5
- 4 ใน 5
- เมื่อสมาชิกภาพของสมาชิกสิ้นสุดลงต้องกำหนดให้มีการเลือกตั้งภายในกี่วัน
- 30 วัน
- 45 วัน
- 45 วันแต่ไม่เกิน 60 วัน
- 30 วันแต่ไม่เกิน 45 วัน
- เมื่อสมาชิกภาพของสมาชิกสิ้นสุดลงเพราะยุบสภาต้องกำหนดให้มีการเลือกตั้งภายในกี่วัน
- 30 วัน
- 45 วัน
- 45 วันแต่ไม่เกิน 60 วัน
- 30 วันแต่ไม่เกิน 45 วัน
- การยุบสภาผู้แทนราษฎรให้กระทำภายในกี่วันนับแต่กฎหมายใช้บังคับ
- 5 วัน
- 15 วัน
- 30 วัน
- 60 วัน
- การยุบสภาผู้แทนราษฎร ให้ออกเป็นกฎหมายระดับใด
- พระราชบัญญัติ
- พระราชกำหนด
- พระราชกฤษฎีกา
- ประกาศ
- ถ้าสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้งว่างลงเพราะเหตุอื่นนอกจากครบวาระให้มีการเลือกตั้งภายในกี่วัน
- 30 วัน
- 45 วัน
- 45 วันแต่ไม่เกิน 60 วัน
- 30 วันแต่ไม่เกิน 45 วัน
- ถ้าสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อว่างลงเพราะเหตุอื่นนอกจากครบวาระให้มีการประกาศรายในราชกิจจานุเบกษาภายในกี่วันวันนับแต่วันที่ตำแหน่งนั้นว่างลง
- 7 วัน
- 15 วัน
- 30 วัน
- 45 วัน
- ถ้าสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อว่างลงเพราะเหตุอื่นนอกจากครบวาระผู้ดำรงตำแหน่งตามข้อใดมีหน้าที่ประกาศรายชื่อผู้ที่อยู่ในลำดับถัดไป
- ประธานรัฐสภา
- ประธานสภาผู้แทนราษฎร
- ประธานศาลฎีกา
- ประธานศาลปกครองสูงสุด
- ผู้ดำรงตำแหน่งตามข้อใดเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร
- ประธานรัฐสภา
- ประธานสภาผู้แทนราษฎร
- ประธานศาลฎีกา
- ประธานศาลปกครองสูงสุด
- วุฒิสภาประกอบด้วยสมาชิกจำนวนกี่คน
- 200 คน
- 150 คน
- 120 คน
- 100 คน
- วุฒิสภาจาก
- การเลือกตั้ง
- การเลือกกันเอง
- การคัดเลือก
- การสรรหา
- กฎหมายในข้อใดเกี่ยวกับการเลือกวุฒิสภา
- พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภา
- ร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภา
- พระราชกฤษฎีกาประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภา
- ร่างพระราชกฤษฎีกาประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภา
- การเลือกวุฒิสภาให้ดำเนินการตั้งแต่ระดับใด
- ระดับหมู่บ้าน
- ระดับตำบล
- ระดับอำเภอ
- ระดับจังหวัด
- ถ้าวุฒิสภาว่างลง ไม่ว่าเพราะเหตุตำแหน่งว่างลงหรือด้วยเหตุอื่นใด หรือไม่มีรายชื่อบุคคลที่สำรองไว้เหลืออยู่ ต้องดำเนินการเลือกให้มีสมาชิกวุฒิสภาให้ครบตามจำนวนภายในกี่วัน
- 30 วัน
- 60 วัน
- 90 วัน
- ไม่ต้องเลือกให้ ส.ว. มีเท่าที่มีอยู่
- เงื่อนไขใดเป็นเหตุให้ต้องเลือกวุฒิสภาแทนตำแหน่งที่ว่าง
- สมาชิกวุฒิสภาเหลืออยู่ไม่ถึงกึ่งหนึ่ง และอายุของวุฒิสภาเหลืออยู่เกิน 180 วัน
- สมาชิกวุฒิสภาเหลืออยู่ไม่ถึงกึ่งหนึ่ง และอายุของวุฒิสภาเหลืออยู่เกิน 1 ปี
- สมาชิกวุฒิสภาเหลืออยู่ไม่ถึง 2 ใน 3 และอายุของวุฒิสภาเหลืออยู่เกิน 1 ปี
- สมาชิกวุฒิสภาเหลืออยู่ไม่ถึง 2 ใน 3 และอายุของวุฒิสภาเหลืออยู่เกิน 2 ปี
- ถ้าต้องเลือกวุฒิสภามาแทนตำแหน่งที่ว่างให้เลือกภายในกี่วันนับแต่วันที่วุฒิสภามีสมาชิกเหลืออยู่ไม่ถึงกึ่งหนึ่ง
- 30 วัน
- 60 วัน
- 90 วัน
- 120 วัน
- การเลือกสมาชิกวุฒิสภาให้ตราเป็น
- พระราชบัญญัติ
- พระราชกำหนด
- พระราชกฤษฎีกา
- ประกาศ