- ถ้าอยากดูอำนาจหน้าที่ของกระทรวง เช่น กระทรวงมหาดไทย ให้ไปดูในกฎหมายใด
- ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
- กฎกระทรวงการแบ่งส่วนราชการของกระทรวง
- ประกาศกระทรวง
- กฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม
- ตำแหน่งตามข้อใดที่สามารถวางแผนและประสานกิจกรรมให้มีการใช้ทรัพยากรของส่วนราชการในกระทรวงร่วมกัน
- ปลัดกระทรวง
- หัวหน้าส่วนราชการระดับกรมขึ้นไป
- หัวหน้ากลุ่มภารกิจ
- ถูกทุกข้อ
- อำนาจหน้าที่ของปลัดกระทรวงข้อใดไม่ถูกต้อง
- รับผิดชอบควบคุมราชการประจำในกระทรวง
- เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการของส่วนราชการในกระทรวงรองจากรัฐมนตรี
- เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการในสำนักงานปลัดกระทรวง
- ประสานการปฏิบัติงานของส่วนราชการในกรมให้มีเอกภาพสอดคล้องกัน
- การกำหนดให้ส่วนราชการระดับกรมตั้งแต่ 2 ส่วนขึ้นไปในกระทรวงให้อยู่ภายใต้ภารกิจเดียวกันให้ออกเป็นกฎหมายใด
- พระราชบัญญัติ
- พระราชกฤษฎีกา
- กฎกระทรวง
- ประกาศกระทรวง
- การกำหนดให้ส่วนราชการระดับกรมตั้งแต่ 2 ส่วนขึ้นไปในกระทรวงให้อยู่ภายใต้ภารกิจเดียวกันหัวหน้าส่วนราชการต้องดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่าข้อใด
- ปลัดกระทรวง
- รองปลัดกระทรวง
- อธิบดี
- รองอธิบดี
- ถ้ากลุ่มภารกิจที่ปฏิบัติราชการนั้นขึ้นตรงต่อรัฐมนตรี ให้รายงานผลการดำเนินงานต่อผู้ดำรงตำแหน่งใดด้วย
- ปลัดกระทรวง
- รองปลัดกระทรวง
- อธิบดี
- รองอธิบดี
- กระทรวงใดมีการจัดกลุ่มภารกิจและมีปริมาณงานมาก ในการปฏิบัติราชการจะให้มีรองปลัดกระทรวงเพิ่มขึ้นได้กี่คน
- 1 คน
- 2 คน
- 3 คน
- 4 คน
- กระทรวงใดมีภารกิจเพิ่มขึ้นและมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีรองปลัดกระทรวงมากกว่าจำนวนตามข้อ 47 คณะกรรมการตามข้อใดมีอำนาจร่วมกันอนุมัติให้มีรองปลัดกระทรวงเพิ่มขึ้นเป็นกรณีพิเศษได้
- คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน และ คณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรม
- คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน และ คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
- คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน และ คณะกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
- คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน และ คณะกรรมการกฤษฎีกา
- สำนักงานรัฐมนตรีมีอำนาจหน้าที่ราชการตามข้อใด
- ราชการทางการเมือง
- ราชการในพระองค์
- ราชการประจำทั่วไป
- ราชการของกรม
- ตำแหน่งตามข้อใดเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ และรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของสำนักงานรัฐมนตรี
- เลขาธิการรัฐมนตรี
- เลขานุการรัฐมนตรี
- ปลัดกระทรวง
- รัฐมนตรี
- ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ของสำนักงานปลัดกระทรวง
- กำกับและเร่งรัดการปฏิบัติราชการของส่วนราชการในกระทรวงให้เป็นไปตามนโยบายแนวทาง
- ราชการที่คณะรัฐมนตรีมิได้กำหนดให้เป็นหน้าที่ของกรมใดกรมหนึ่งในสังกัดกระทรวงโดยเฉพาะ
- ราชการประจำทั่วไปของกรม
- กำกับและเร่งรัดการปฏิบัติราชการของส่วนราชการในกระทรวงให้เป็นไปตามแผนการปฏิบัติราชการของกระทรวง
- การแบ่งส่วนราชการของกรมข้อใดถูกต้อง
- สำนักงานเลขานุการกรม
- กองหรือส่วนราชการที่มีฐานะเทียบเท่ากอง
- กรมหรือส่วนราชการที่มีฐานะ
- ถูกทั้ง และ 2.
- กรมมีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการของกระทรวงตามกฎหมายใด
- กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการของกรม
- กฎหมายว่าด้วยอำนาจหน้าที่ของกรม
- ประกาศกระทรวง
- ถูกทั้ง และ 2.
- ข้อใดเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและรับผิดชอบการปฏิบัติราชการในกรม
- ปลัดกระทรวง
- อธิบดี
- เลขานุการกรม
- ผู้อำนวยการกอง
- ตำแหน่งตามข้อใดในกรมที่มีหน้าที่ช่วยอธิบดีปฏิบัติราชการ
- รองอธิบดี
- เลขานุการกรม
- ผู้อำนวยการกอง
- หัวหน้ากอง
- ผู้บังคับบัญชาข้าราชการ และรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของสำนักงานเลขานุการกรมข้อใดถูกต้อง
- อธิบดี
- เลขานุการกรม
- ผู้อำนวยการกอง
- หัวหน้ากอง
- ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ของสำนักงานเลขานุการกรม
- ราชการทั่วไปของกรม และราชการที่มิได้แยกให้เป็นหน้าที่ของกองหรือส่วนราชการใดโดยเฉพาะ
- ราชการประจำทั่วไปของกระทรวง
- ราชการที่คณะรัฐมนตรีมิได้กำหนดให้เป็นหน้าที่ของกรมใดกรมหนึ่งในกระทรวงโดยเฉพาะ
- ถูกทุกข้อ
- กระทรวง ทบวง กรมใดมีเหตุพิเศษจะแบ่งท้องที่ออกเป็นเขตให้ตราเป็นกฎหมายใด
- พระราชบัญญัติ
- พระราชกำหนด
- พระราชกฤษฎีกา
- กฎกระทรวง
- กระทรวง ทบวง กรม ที่แบ่งท้องที่ออกเป็นเขตเพื่อวัตถุประสงค์ตามข้อใด
- กำหนดเขตความรับผิดชอบ
- กระจายอำนาจการตัดสินใจ
- ปฏิบัติงานทางวิชาการ
- ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน
- กระทรวง ทบวง กรม จะมีผู้ตรวจราชการได้ต้องคำนึงถึงสิ่งใด
- การอำนวยความสะดวก
- ผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ
- การกระจายอำนาจตัดสินใจ
- สภาพและปริมาณของงาน
- หลักเกณฑ์ที่กำหนดอำนาจในการสั่งการ การอนุญาต การอนุมัติ การปฏิบัติราชการ หรือการมอบอำนาจให้ปฏิบัติราชการแทนนั้น ได้กำหนดไว้ในกฎหมายตามข้อใด
- พระราชบัญญัติ
- พระราชกำหนด
- พระราชกฤษฎีกา
- กฎกระทรวง
- การมอบอำนาจให้ผู้ดำรงตำแหน่งใดที่คณะรัฐมนตรีต้องกำหนดหลักเกณฑ์ให้มอบอำนาจต่อไปให้ผู้ดำรงตำแหน่งอื่นได้
- ปลัดกระทรวง
- อธิบดี
- ผู้ว่าราชการจังหวัด
- นายอำเภอ
- ในการมอบอำนาจ ข้อใดไม่ใช่สิ่งที่ผู้มอบอำนาจต้องพิจารณาเมื่อมีการมอบอำนาจ
- การอำนวยความสะดวกแก่ประชาชน
- การกระจายความรับผิดชอบตามสภาพของตำแหน่งของผู้รับมอบ
- ความรวดเร็วในการปฏิบัติราชการ
- การลดขั้นตอนในการปฏิบัติราชการ
- เมื่อนายกรัฐมนตรีไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้คณะรัฐมนตรีมอบหมายให้ผู้ดำรงตำแหน่งใดเป็นผู้รักษาราชการแทนในลำดับแรก
- รองนายกรัฐมนตรี
- รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
- รัฐมนตรีอื่น
- โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
- กรณีที่ไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งนายอำเภอ ผู้ใดมีหน้าที่แต่งตั้งปลัดอำเภอหรือหัวหน้าส่วนราชการประจำอำเภอผู้มีอาวุโสเป็นผู้รักษาราชการแทน
- อธิบดี
- ผู้ว่าราชการจังหวัด
- ปลัดจังหวัด
- นายอำเภอ
- กรณีที่มีผู้ดำรงตำแหน่งนายอำเภอ แต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ผู้ใดมีหน้าที่แต่งตั้งปลัดอำเภอหรือหัวหน้าส่วนราชการประจำอำเภอผู้มีอาวุโสเป็นผู้รักษาราชการแทน
- อธิบดี
- ผู้ว่าราชการจังหวัด
- ปลัดจังหวัด
- นายอำเภอ
- ถ้าในกรมมีลักษณะงานที่เกี่ยวเนื่องกันหากแยกออกมาจะทำให้การปฏิบัติราชการบรรลุเป้าหมายตามมาตรา 3/1 มากยิ่งขึ้น เรียกว่าการจัดตั้ง
- ศูนย์บริการร่วม
- หน่วยบริการรูปแบบพิเศษ
- เขต
- กลุ่มจังหวัด
- เกี่ยวกับหน่วยบริการรูปแบบพิเศษข้อใดผิด
- ไม่ถือว่าเป็นส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ
- การจัดตั้งต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี
- รายได้ไม่ต้องนำส่งคลัง
- เป็นการแยกการบริหารภายในกระทรวง
- ข้าราชการสังกัดกระทรวงการต่างประเทศซึ่งได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการแทนหัวหน้าคณะผู้แทน เรียกว่า
- คณะผู้แทน
- หัวหน้าคณะผู้แทน
- รองหัวหน้าคณะผู้แทน
- ข้าราชการฝ่ายทหารประจำการในต่างประเทศ
- เมื่อกระทรวง ทบวง กรม จะมอบอำนาจหรือมีคำสั่งใดที่เกี่ยวข้องไปยังหัวหน้าคณะผู้แทนให้แจ้งผ่านหน่วยงานใด
- กระทรวงการต่างประเทศ
- สถานเอกอัครราชทูตประจำประเทศไทย
- สถานกงสุล
- ถูกทุกข้อ