ระเบียบเกี่ยวกับงานสารบรรณ ข้อ 61-90

  1. หนังสือชนิดใดให้เก็บไว้ตลอดไป
  • หนังสือที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์
  • หนังสือที่เป็นหลักฐานทางอรรถคดี
  • หนังสือที่เป็นเรื่องธรรมดาสามัญ
  • หนังสือหรือเอกสารเกี่ยวกับการเงิน

 

  1. หนังสือที่ได้ปฏิบัติงานเสร็จสิ้นแล้ว และเป็นคู่สำเนาที่มีต้นเรื่องจะค้นได้จากที่อื่นให้เก็บไว้ไม่น้อยกว่ากี่ปี
  • 1 ปี
  • 5 ปี
  • 10 ปี
  • เก็บไว้ตลอดไป

 

  1. หนังสือที่เป็นเรื่องธรรมดาสามัญซึ่งไม่มีความสำคัญ และเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นเป็นประจำให้เก็บไว้ไม่น้อยกว่ากี่ปี
  • 1 ปี
  • 5 ปี
  • 10 ปี
  • เก็บไว้ตลอดไป

 

  1. หนังสือหรือเอกสารเกี่ยวกับการเงินให้เก็บไว้ไม่น้อยกว่ากี่ปี
  • 1 ปี
  • 5 ปี
  • 10 ปี
  • เก็บไว้ตลอดไป

 

  1. หนังสือหรือเอกสารเกี่ยวกับการเงินที่เห็นว่าไม่มีความจำเป็นต้องเก็บไว้ถึง 10 ปี หรือ 5 ปี ให้ทำความตกลงกับส่วนราชการใด
  • กระทรวงการคลัง
  • กระทรวงมหาดไทย
  • กรมบัญชีกลาง
  • ธนาคารแห่งประเทศไทย

 

  1. หนังสือที่มีอายุครบ 20 ปี ให้ส่งให้สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติภายในวันที่เท่าใด
  • 31 ธันวาคม ของทุกปี
  • 31 มกราคม ของปีถัดไป
  • 15 ธันวาคม ของทุกปี
  • 15 มกราคม ของปีถัดไป

 

  1. ในการรักษาหนังสือนั้น หากหนังสือสูญหาย ให้ส่วนราชการดำเนินการตามข้อใด
  • รายงานผู้บังคับบัญชา
  • หาสำเนามาแทน
  • ซ่อมแซม
  • ถูกทุกข้อ

 

  1. การยืมหนังสือระหว่างส่วนราชการ ผู้ยืมและผู้อนุญาตให้ยืมต้องเป็นหัวหน้าส่วนราชการระดับใด
  • ระดับกระทรวง
  • ระดับกรมขึ้นไป
  • ระดับกองขึ้นไป
  • ระดับแผนกขึ้นไป

 

  1. การยืมหนังสือภายในส่วนราชการเดียวกัน ผู้ยืมและผู้อนุญาตให้ยืมต้องเป็นหัวหน้าส่วนราชการระดับ
  • ระดับกระทรวง
  • ระดับกรมขึ้นไป
  • ระดับกองขึ้นไป
  • ระดับแผนกขึ้นไป

 

  1. หัวหน้าส่วนราชการระดับกองขึ้นไปมีอำนาจอนุญาตให้บุคคลภายนอกยืมหนังสือได้ในกรณีใด
  • ขอคัดสำเนา
  • ขอถ่ายเอกสาร
  • ขอดูหรือคัดลอก
  • ขอให้รับรองสำเนา

 

  1. ภายในกี่วันหลังจากสิ้นปีปฏิทินให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบในการเก็บหนังสือสำรวจหนังสือที่ครบกำหนดอายุการเก็บเพื่อจัดทำบัญชีหนังสือขอทำลาย
  • 30 วัน
  • 45 วัน
  • 60 วัน
  • 90 วัน

 

  1. ผู้มีอำนาจแต่งตั้งคณะกรรมการทำลายหนังสือต้องเป็นหัวหน้าส่วนระดับใด
  • ระดับกระทรวง
  • ระดับกรม
  • ระดับกอง
  • ระดับแผนก

 

  1. คณะกรรมการทำลายหนังสือปกติให้แต่งตั้งจากข้าราชการพลเรือนหรือ พนักงานส่วนท้องถิ่น ประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ หรือประเภททั่วไป ระดับชำนาญงาน ขึ้นไป โดยประกอบด้วยประธานและกรรมการอย่างน้อยกี่คน
  • 2 คน
  • 3 คน
  • 5 คน
  • 7 คน

 

  1. เครื่องหมายตามข้อใดถ้าคณะกรรมการทำลายหนังสือเห็นว่าหนังสือเรื่องใดควรทำลายให้ทำลงในช่องการพิจารณา
  • กากบาท (x)
  • ถูกต้อง (/)
  • ดอกจันทร์ (*)
  • สี่เหลี่ยม ([ ])

 

  1. ถ้าคณะกรรมการทำลายหนังสือเห็นว่าหนังสือเรื่องใดควรทำลายให้ส่งไปยังสำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติเพื่อพิจารณา และถ้าสำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติไม่แจ้งภายในกี่วัน ให้ถือว่าเห็นชอบ
  • 30 วัน
  • 45 วัน
  • 60 วัน
  • 90 วัน

 

  1. ตราครุฑสำหรับแบบพิมพ์มีกี่ขนาด
  • 2 ขนาด ( 3 ซม. และ 1 ซม.)
  • 2 ขนาด ( 3 ซม. และ 5 ซม.)
  • ขนาดเดียว ( 3 ซม. )
  • 3 ขนาด ( 3 ซม., 1.5 ซม. และ 1 ซม.)

 

  1. ข้อใดคือขนาดของตราชื่อส่วนราชการ
  • วงนอก 4 ซม. วงใน 3 ซม.
  • วงนอก 5 ซม. วงใน 3.5 ซม.
  • วงนอก 5 ซม. วงใน 4 ซม.
  • วงนอก 5 ซม. วงใน 4.5 ซม.

 

  1. ตราชื่อส่วนราชการระดับกรมหรือจังหวัดจะมีชื่อส่วนราชการอยู่ส่วนใดของตรา
  • ขอบล่างของตรา
  • ขอบบนของตรา
  • ทั้งขอบล่างและขอบบน
  • ผิดทุกข้อ

 

  1. ตรากำหนดเก็บหนังสือที่มีคำว่า “เก็บถึง พ.ศ….” หรือ “ห้ามทำลาย” มีขนาดตัวหนังสือไม่เล็กกว่าเท่าใด
  • 20 พอยท์
  • 24 พอยท์
  • 30 พอยท์
  • 36 พอยท์

 

  1. มาตรฐานกระดาษมี 3 ขนาด ข้อใดกล่าวได้ถูกต้อง
  • เอ 4, เอ 5 และเอ 8
  • เอ 4, เอ 5 และดีแอล
  • เอ 3, เอ 4 และเอ 5
  • เอ 4, ดีแอล และเอ 8

 

  1. มาตรฐานซองมี 4 ขนาด ข้อใดกล่าวได้ถูกต้อง
  • ซี 3, ซี 5, ซี 6 และซี 7
  • ซี 5, ซี 6, ซี 7 และดีแอล
  • ซี 5, ซี 6, ซี 7 และซี 8
  • ซี 4, ซี 5, ซี 6 และดีแอล

 

  1. กระดาษตราครุฑที่ใช้กระดาษขนาด เอ 4 พิมพ์ครุฑขนาดเท่าใด
  • 1 เซนติเมตร
  • 5 เซนติเมตร
  • 3 เซนติเมตร
  • 5 เซนติเมตร

 

  1. กระดาษบันทึกข้อความที่ใช้กระดาษ เอ 4 และ เอ 5 พิมพ์ครุฑขนาดเท่าใด
  • 1 เซนติเมตร
  • 5 เซนติเมตร
  • 3 เซนติเมตร
  • 5 เซนติเมตร

 

  1. ซองหนังสือราชการให้พิมพ์ครุฑที่มุมบนซ้ายของซองขนาดเท่าใด
  • 1 เซนติเมตร
  • 5 เซนติเมตร
  • 3 เซนติเมตร
  • 5 เซนติเมตร

 

  1. ซองหนังสือสำหรับบรรจุหนังสือกระดาษตราครุฑพับ 2 เป็นซองขนาดเท่าใด
  • ซองขนาดซี 4
  • ซองขนาดซี 5
  • ซองขนาดซี 6
  • ซองขนาดดีแอล

 

  1. ซองหนังสือสำหรับบรรจุหนังสือกระดาษตราครุฑพับ 3 เป็นซองขนาดเท่าใด
  • ซองขนาดซี 4
  • ซองขนาดซี 5
  • ซองขนาดซี 6
  • ซองขนาดดีแอล

 

  1. ขนาดของตรารับหนังสือตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ ข้อใดถูกต้อง
  • 2 x 5 เซนติเมตร
  • 5 x 5 เซนติเมตร
  • 5 x 5.5 เซนติเมตร
  • 3 x 5 เซนติเมตร

 

  1. ลักษณะแบบพิมพ์ขนาดเอ 4 พิมพ์สองหน้า มี 2 ชนิดคือชนิดเป็นเล่ม และชนิดเป็นแผ่นเป็นลักษณะแบบพิมพ์ของทะเบียนชนิดใด
  • ทะเบียนหนังสือรับ
  • ทะเบียนหนังสือส่ง
  • ทะเบียนหนังสือเก็บ
  • ถูกทุกข้อ

 

  1. ข้อใดที่ใช้แบบพิมพ์ขนาดเอ 8 พิมพ์หน้าเดียว
  • ใบรับหนังสือ
  • บัตรตรวจค้น
  • สมุดส่งหนังสือ
  • บัญชีฝากส่งหนังสือ

 

  1. ผู้มีอำนาจตีความและวินิจฉัยปัญหาที่เกิดขึ้นจากการใช้ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ ข้อใดกล่าวได้ถูกต้อง
  • นายกรัฐมนตรี
  • ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
  • คณะรัฐมนตรี
  • ปลัดกระทรวงมหาดไทย