- ถ้าหน่วยงานของรัฐมีข้อหารือว่า การจัดซื้อจัดจ้างผิดพลาดหรือลงผิดเล็กน้อย ให้คณะกรรมการวินิจฉัยพิจารณาให้แล้วเสร็จภายในกี่วัน
- 15 วัน
- 30 วัน
- 45 วัน
- 60 วัน
- ใครเป็นประธานคณะกรรมการราคากลางและขึ้นทะเบียนผู้ประกอบการ
- อธิบดีกรมบัญชีกลาง
- ปลัดกระทรวงการคลัง
- ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
- รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
- จำนวนกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการราคากลางและขึ้นทะเบียนผู้ประกอบการ ข้อใดถูกต้อง
- น้อยกว่า 3 คนแต่ไม่เกิน 7
- น้อยกว่า 5 คนแต่ไม่เกิน 7
- น้อยกว่า 7 คนแต่ไม่เกิน 11
- น้อยกว่า 9 คนแต่ไม่เกิน 11
- ข้อใดไม่ใช่อำนาจหน้าที่คณะกรรมการราคากลางและขึ้นทะเบียนผู้ประกอบการ
- ออกประกาศกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการขึ้นทะเบียนผู้ประกอบการที่มีสิทธิเป็นผู้ยื่นข้อเสนอต่อหน่วยงานของรัฐ
- กำกับดูแลการกำหนดราคากลางให้เป็นไปตามแนวทางของพระราชบัญญัตินี้
- เสนอความเห็นต่อปลัดกระทรวงการคลังในการพิจารณาสั่งให้ผู้ยื่นข้อเสนอหรือคู่สัญญาเป็นผู้ทิ้งงาน
- ออกประกาศกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการกำหนดราคากลาง
- อธิบดีกรมบัญชีกลางมอบหมายข้าราชการของกรมบัญชีกลางเป็นผู้ช่วยเลขานุการจำนวนกี่คน
- 1 คน
- 2 คน
- 3 คน
- 4 คน
- ใครเป็นประธานคณะกรรมการความร่วมมือป้องกันการทุจริต
- ปลัดกระทรวงการคลัง
- ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
- อธิบดีกรมบัญชีกลาง
- รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
- ใครไม่ได้เป็นกรรมการโดยตำแหน่ง ในคณะกรรมการความร่วมมือป้องกันการทุจริต
- ปลัดกระทรวงการคลัง
- อธิบดีกรมบัญชีกลาง
- ผู้แทนสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
- ผู้แทนสำนักงานอัยการสูงสุด
- จำนวนกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการความร่วมมือป้องกันการทุจริต ข้อใดถูกต้อง
- ไม่น้อยกว่า 5 คนแต่ไม่เกิน 3 คน
- ไม่น้อยกว่า 5 คนแต่ไม่เกิน 7 คน
- ไม่น้อยกว่า 7 คนแต่ไม่เกิน 9 คน
- ไม่น้อยกว่า 7 คนแต่ไม่เกิน 11 คน
- ข้อใดเป็นอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการความร่วมมือป้องกันการทุจริต
- เสนอแนะแนวทางการปรับปรุงแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุต่อคณะกรรมการนโยบาย
- ตีความและวินิจฉัยปัญหาข้อหารือเกี่ยวกับการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงหรือระเบียบที่ออกตามความในพระราชบัญญัตินี้
- ให้คำปรึกษาแนะนำแก่เจ้าหน้าที่หรือหน่วยงานของรัฐเกี่ยวกับการดำเนินการตามหลักเกณฑ์และวิธีการกำหนดราคากลาง
- กำหนดแบบของข้อตกลงคุณธรรมและแบบรายงานของผู้สังเกตการณ์
- ใครเป็นประธานคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์และข้อร้องเรียน
- ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
- รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
- ปลัดกระทรวงการคลัง
- อธิบดีกรมบัญชีกลาง
- จำนวนกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์และข้อร้องเรียน ข้อใดถูกต้อง
- ไม่น้อยกว่า 3 คนแต่ไม่เกิน 7 คน
- ไม่น้อยกว่า 5 คนแต่ไม่เกิน 7 คน
- ไม่น้อยกว่า 7 คนแต่ไม่เกิน 9 คน
- ไม่น้อยกว่า 7 คนแต่ไม่เกิน 11 คน
- ข้อใดเป็นอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์และข้อร้องเรียน
- กำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานและจรรยาบรรณของเจ้าหน้าที่
- วินิจฉัยความเป็นโมฆะของสัญญาหรือ
- พิจารณาและวินิจฉัยอุทธรณ์
- เสนอแนะนโยบายการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐต่อคณะรัฐมนตรี
- หน่วยงานใดเป็นองค์กรสนับสนุนการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ
- กระทรวงการคลัง
- กรมบัญชีกลาง
- สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
- สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ
- หน่วยงานใดมีหน้าที่ในการดูแลและพัฒนาระบบการจัดซื้อจัดจ้างผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ และการประกาศเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างในระบบเครือข่ายสารสนเทศ
- กระทรวงการคลัง
- กรมบัญชีกลาง
- สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
- สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ
- คณะกรรมการชุดใดมีอำนาจประกาศกำหนดในราชกิจจานุเบกษาให้งานก่อสร้างในสาขาใด ผู้ประกอบการงานก่อสร้างในสาขานั้นต้องเป็นผู้ที่ได้ขึ้นทะเบียนไว้กับกรมบัญชีกลาง
- คณะกรรมการนโยบาย
- คณะกรรมการราคากลาง
- คณะกรรมการ ค.ป.ท.
- คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์
- โดยหลักแล้วการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุกระทำได้กี่วิธี
- 3 วิธี ได้แก่ วิธีประกาศเชิญชวนทั่วไป วิธีคัดเลือก วิธีประกวดแบบ
- 3 วิธี ได้แก่วิธีประกาศเชิญชวนทั่วไป วิธีคัดเลือก วิธีตลาดอิเล็กทรอนิกส์ (e-market)
- 3 วิธี ได้แก่วิธีประกาศเชิญชวนทั่วไป วิธีคัดเลือก วิธีเฉพาะเจาะจง
- 3 วิธี ได้แก่วิธีประกาศเชิญชวนทั่วไป วิธีคัดเลือก วิธี e-bidding
- การที่หน่วยงานของรัฐเชิญชวนผู้ประกอบการทั่วไปที่มีคุณสมบัติตรงตามเงื่อนไขที่หน่วยงานของรัฐกำหนดให้เข้ายื่นข้อเสนอ เป็นวิธีการจัดซื้อจัดจ้างตามข้อใด
- วิธีประกาศเชิญชวนทั่วไป
- วิธีคัดเลือก
- วิธีเฉพาะเจาะจง
- วิธีประกวดแบบ
- การที่หน่วยงานของรัฐเชิญชวนเฉพาะผู้ประกอบการที่มีคุณสมบัติ ตรงตามเงื่อนไขที่หน่วยงานของรัฐกำหนดซึ่งต้องไม่น้อยกว่าสามรายให้เข้ายื่นข้อเสนอ เป็นวิธีการจัดซื้อจัดจ้างตามข้อใด
- วิธีประกาศเชิญชวนทั่วไป
- วิธีคัดเลือก
- วิธีเฉพาะเจาะจง
- วิธีประกวดแบบ
- การที่หน่วยงานของรัฐเชิญชวนผู้ประกอบการที่มีคุณสมบัติ ตรงตามเงื่อนไขที่หน่วยงานของรัฐกำหนดรายใดรายหนึ่งให้เข้ายื่นข้อเสนอ หรือให้เข้ามาเจรจาต่อรองราคา เป็นวิธีการจัดซื้อจัดจ้างตามข้อใด
- วิธีประกาศเชิญชวนทั่วไป
- วิธีคัดเลือก
- วิธีเฉพาะเจาะจง
- วิธีประกวดแบบ
- โดยหลักแล้ว การจัดซื้อจัดจ้างพัสดุ ให้หน่วยงานของรัฐเลือกใช้วิธีใดก่อน
- วิธีประกาศเชิญชวนทั่วไป
- วิธีคัดเลือก
- วิธี e-bidding
- วิธีตลาดอิเล็กทรอนิกส์ (e-market)
- ข้อใดเป็นคุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของผู้ที่จะเข้ายื่นข้อเสนอในการจัดซื้อจัดจ้างของหน่วยงานของรัฐ
- มีความสามารถตามกฎหมาย
- ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย
- ไม่อยู่ระหว่างเลิกกิจการ
- ถูกทุกข้อ
- ในการพิจารณาคัดเลือกข้อเสนอโดยวิธีประกาศเชิญชวนทั่วไป มีสิ่งใดที่หน่วยงานของรัฐต้องพิจารณา
- ประโยชน์ของหน่วยงานของรัฐ
- วัตถุประสงค์ของการใช้งาน
- คำนึงถึงเกณฑ์ราคา
- ถูกทุกข้อ
- ผู้ยื่นข้อเสนอที่ชนะจะลงนามในสัญญาจัดซื้อจัดจ้างภายในกำหนดเวลาตามข้อใด
- ภายใน 15 วัน
- ภายใน 15 วันหลังประกาศผลผู้ชนะ
- ภายใน 30 วัน
- ล่วงพ้นระยะเวลาอุทธรณ์และไม่มีผู้ใดอุทธรณ์
- ก่อนลงนามในสัญญาหน่วยงานของรัฐอาจประกาศยกเลิกการจัดซื้อจัดจ้างที่ได้ในกรณีตามข้อใด
- หน่วยงานของรัฐนั้นไม่ได้รับการจัดสรรเงินงบประมาณที่
- มีการกระทำที่เข้าลักษณะผู้ยื่นข้อเสนอที่ชนะการจัดซื้อจัดจ้างหรือที่ได้รับการคัดเลือกมีผลประโยชน์ร่วมกัน
- การทำการจัดซื้อจัดจ้างต่อไปอาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่หน่วยงานของรัฐ
- ถูกทุกข้อ
- โดยหลักแล้วงานจ้างที่ปรึกษากระทำได้กี่วิธี
- 3 วิธี ได้แก่ วิธีประกาศเชิญชวนทั่วไป วิธีคัดเลือก วิธีประกวดแบบ
- 3 วิธี ได้แก่วิธีประกาศเชิญชวนทั่วไป วิธีคัดเลือก วิธีตลาดอิเล็กทรอนิกส์ (e-market)
- 3 วิธี ได้แก่วิธีประกาศเชิญชวนทั่วไป วิธีคัดเลือก วิธีเฉพาะเจาะจง
- 3 วิธี ได้แก่วิธีประกาศเชิญชวนทั่วไป วิธีคัดเลือก วิธี e-bidding