- การบริหารเชิงกลยุทธ์ของกรมการปกครอง จะมี 4S หรือ 4 กิจกรรม ที่สำคัญ “Strategic implementation” เรียกว่า
- การวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์
- การวางแผนกลยุทธ์
- การนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ
- การควบคุมและประเมินผลกลยุทธ์
- การวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์ สิ่งใดควรทำเป็นลำดับแรก
- กำหนดวิสัยทัศน์ (Vision)
- กำหนดพันธกิจ (Mission)
- กำหนดเป้าประสงค์ (Goal )
- กำหนดเป้าหมาย ( Target )
- การกำหนดขอบเขตของงานหรือบทบาทหน้าที่อย่างกว้างๆ ที่องค์กรต้อง ทำเพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ที่กำหนดไว้ เรียกว่า
- วิสัยทัศน์ (Vision)
- พันธกิจ (Mission)
- เป้าประสงค์ (Goal )
- เป้าหมาย ( Target )
- กิจกรรมในการวางแผนกลยุทธ์ขององค์กรประกอบด้วยกี่ส่วน
- 3 ส่วน
- 4 ส่วน
- 5 ส่วน
- 6 ส่วน
- ผู้บริหารจะต้องตรวจสอบสภาพแวดล้อมภายนอกองค์กร เพื่อประเมินโอกาส (Opportunities) และอุปสรรค (Threats) โดยการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกจะมีกี่ขั้นตอน
- 3 ขั้นตอน
- 4 ขั้นตอน
- 5 ขั้นตอน
- 6 ขั้นตอน
- ผู้บริหารจะต้องตรวจสอบสภาพแวดล้อมภายในองค์กรแล้วประเมินเพื่อประเมินอะไรใน SWOT
- จุดแข็ง (Strengths) และจุดอ่อน (Weaknesses)
- โอกาส (Opportunities) และอุปสรรค (Threats)
- จุดแข็ง (Strengths) และอุปสรรค (Threats)
- อุปสรรค (Threats) และจุดอ่อน (Weaknesses)
- ความสำเร็จของการนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติขึ้นอยู่กับปัจจัยมีอะไรบ้าง
- องค์กรมีระบบการจัดการที่ดี
- บุคลากรมีความรู้ความสามารถ
- ผิดทั้ง ก. และ ข.
- ถูกทั้ง ก. และ ข.
- เครื่องมือที่ใช้ในการบริหารเชิงกลยุทธ์คือข้อใด
- Balanced scorecard
- Benchmarking
- 7S
- ถูกทั้ง ก. และ ข.
- กระบวนการควบคุมกลยุทธ์ที่ดีและมีประสิทธิภาพ มีหลักการอะไรบ้าง
- มีความยืดหยุ่นเพียงพอ
- ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง
- ได้รับข้อมูลทันเวลา
- ถูกทุกข้อ
- การประเมินผลกลยุทธ์ใช้สิ่งใดในการประเมิน
- ความรู้สึก
- การวัดผลผลิต
- การวัดผลลัพธ์
- ข. และ ค. ถูก
- ข้อใดไม่ใช่ ประโยชน์ของการบริหารเชิงกลยุทธ์
- เพื่อให้แนวทางในการปฏิบัติงานต่อทุกคนในองค์การ โดยเฉพาะในประเด็นสำคัญ “สิ่งที่เราพยายามจะทำ และทำให้สำเร็จ”
- เพื่อช่วยให้ผู้จัดการ มีเหตุผลในการจัดสรรงบประมาณในการลงทุนจัดกำลังคนและทรัพยากรอื่น ๆ ให้กับแผนงานต่าง ๆ
- ช่วยให้การตัดสินในเชิงกลยุทธ์ ซึ่งผู้จัดการฝ่ายต่าง ๆ ทั้งองค์การปฏิบัติงานร่วมกัน จะได้ตัดสินใจสอดคล้องกันเป็นหนึ่งเดียว
- เพื่อช่วยให้เกิดการจัดกิจกรรมที่ผ่านมา เพื่อตัดสินใจตอบโต้ หรือตั้งรับต่อแนวโน้มต่าง ๆ
- Functional-Level Strategy คือกลยุทธ์ระดับใด
- กลยุทธ์ระดับองค์กร
- กลยุทธ์ระดับกิจการ
- กลยุทธ์ระดับหน้าที่
- กลยุทธ์ระดับโครงการ
- ข้อใดคือข้อพึงระมัดระวังในการประยุกต์ใช้วิธีการจัดการเชิงกลยุทธ์
- การทำนายเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคตล่วงหน้าระยะยาวอาจมีข้อผิดพลาด
- การแยกกระบวนการออกจากกัน เช่น การแยกกลุ่มผู้จัดทำแผน กลุ่มผู้วางกลยุทธ์ และกลุ่มผู้ปฏิบัติงานเป็นคนละกลุ่มกัน หรือไม่สามารถเชื่อมโยงความคิดระหว่างกันได้
- การนำเอาความรู้สึกโดยสัญชาตญาณมาใช้ในการกำหนดกลยุทธ์มากกว่าการกำหนดระเบียบวิธีการที่เป็นรูปธรรม
- ถูกทุกข้อ
- วัตถุประสงค์ที่ดีต้องมีการจัดแบ่งออกเป็น 4 ด้าน ข้อใดไม่ถูกต้อง
- วัตถุประสงค์ด้านการเงิน (Financial Perspective)
- วัตถุประสงค์ด้านลูกค้า (Customer Perspective)
- วัตถุประสงค์ด้านกระบวนการธุรกิจภายนอก (External Process Perspective)
- วัตถุประสงค์ด้านองค์กรและการเรียนรู้ (Learning and Growth Perspective)
- ข้อใดไม่ใช่ลักษณะเป้าหมายที่ดี
- สามารถบรรลุได้ ไม่ยากเกินไป
- มีความท้าทาย ไม่ง่ายเกินไป
- สามารถวัดผลได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด
- พนักงานไม่มีส่วนร่วมในการกำหนด
- ข้อใดไม่ใช่กลยุทธ์หดตัว (Retrenchment Strategy)
- กลยุทธ์การฟื้นฟู (Turnaround Strategy)
- กลยุทธ์จำเลย (Captive Company Strategy)
- กลยุทธ์การขายทิ้งหรือการถอนทุนการลงทุน (Sell-Out/ Divestment Strategy)
- กลยุทธ์การล้มละลายหรือการเลิกกิจการ (Bankruptcy/ Liquidation Strategy)
- ข้อใดไม่ใช่ กลยุทธ์การสร้างความแตกต่าง (Differentiation Steategy)
- การเป็นผู้นำด้านต้นทุน (Cost Leadership)
- การสร้างความแตกต่าง (Differentiation)
- มุ่งลดต้นทุน (Cost Focus)
- มุ่งที่ความแตกต่าง (Focused Differentiation)
- ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับ กลยุทธ์ระดับหน้าที่ (Functional Strategy)
- กลยุทธ์ด้านวิจัยและพัฒนา (Research and Development Strategy)
- กลยุทธ์ด้านปฏิบัติการ (Operations Strategy)
- กลยุทธ์ด้านการเงิน (Financial Strategy)
- ทุกข้อที่กล่าวมาถูกหมด
- ข้อที่ข้อใดไม่ใช่สภาวะแวดล้อมทางสังคม-วัฒนธรรม หรือ Sociocultural Environment
- lifestyle
- ฐานะการเงิน
- คุณภาพชีวิต
- การศึกษา
- ข้อที่ข้อใดไม่ใช่วิธีการจัดทำกลยุทธ์ของผู้บริหาร
- ผู้บริหารระดับสูงเป็นผู้พัฒนาแผนและใช้กลยุทธ์ (The Master Strategist Approach)
- ผู้บริหารมอบหมายให้ผู้อื่นกำหนดและใช้กลยุทธ์ (The Delegate-It-to-Others Approach)
- ร่วมกันกำหนดและใช้กลยุทธ์ (The Collaborative Approach)
- สนับสนุนให้หุ้นส่วนจัดทำและใช้กลยุทธ์ (The Champion Approach)